วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557

ประวัติความเป็นมาของ JSP




ความเป็นมาของภาษา JSP 
      JSP (Java Server Page) ภาษา JSP เป็นเทคโนโลยีของ จาวาสำาหรับสร้าง HTML, XML หรือตามที่ผู้ใช้ร้องขอมีตัวแปล ภาษาคือ Tomcat Apache และ Java Compiler พัฒนาโดย James Duncan Davidson ค.ศ.2000 Java Server Page (JSP) เป็นเทคโนโลยีสำาหรับการ ควบคุมเนื้อหาหรือสิ่งที่มองเห็นของเว็บเพจผ่านการใช้ servlet ผู้พัฒนา Java ได้อ้างถึงเทคโนโลยี JSP เป็น Servlet application program interface โดย JSP เปรียบเทียบได้ กับเทคโนโลยี (ASP) ของ Microsoft ขณะที่ Java Server Page เรียกโปรแกรม Java โดยแม่ข่ายเว็บ Active Server Page เก็บสคริปต์ที่ได้รับการแปลไว้ ก่อนเพจได้รับการส่งไป ยังผู้ใช้ เพจ HTML ที่เก็บการเชื่อมโยงกับ Java servlet บาง ครั้งใช้ไฟล์นามสกุล .JSP ก้าวแรก สู่โลก JSP คำาสั่งหรือข้อความต่าง ๆ ที่ปรากฏอยู่ในไฟล์ JSP อาจมี เพียงบรรทัดเดียว หรือหลาย ๆ บรรทัด เรียงกันเป็นบล็อก เรียก คำาสั่งหรือข้อความเหล่านี้อย่างสั้น ๆ ว่า element มีอยู่ 4 แบบ คือ 1. Scripting elements ได้แก่ code ของจาวาที่เขียน ใน scriptlet 2. Comments ข้อความต่าง ๆ ที่ผู้เขียนโปรแกรมอธิบาย หรือขยายความ coding ต่าง ๆในโปรแกรม สะดวกต่อผู้อ่าน และสะดวกในแก้ไขโปรแกรมในภายหลังเมื่อเวลาผ่านไปนาน ๆ ข้อความใน comment นี้ server จะไม่นำาไปประมวลผล หน้า 1  

        ที่ทำงานบนเครื่อง server เช่นเดียวกับ perl, php asp หรือ cold fusion เป็นต้น โดยมีโครงสร้างภาษาแบบ JAVA หรือเป็น JAVA ประเภทหนึ่ง แต่มาเขียนให้อยู่ในรูปของ HTML แต่ผลสุดท้ายเมื่อจะใช้งานจริง ๆ ตัว File JSP จะถูกแปลงให้เป็น file ของ JAVA
อะไรคือ JSP
         JSP  เทคโนโลยีที่คิดค้นโดยบริษัท Sun Microsystems (ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ซันและผู้พัฒนาจาวา) โดยพัฒนาบนพื้นฐาน
ของภาษาจาวา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ให้หน้าเว็บเพจมีความยืดหยุ่นสูงขึ้น โครงสร้างของ JSP นั้นเป็นลักษณะของแท็ก (tag) ชนิดพิเศษที่แทรกเข้าไปในเอกสาร HTML และเปลี่ยนนามสกุลของเอกสารเป็น . JSP แทนที่จะเป็น .HTM  หรือ .HTML โดยแท็กเหล่านี้เว็บบราวเซอร์จะไม่สามารถตีความหมายได้ จะต้องนำไปประมวลผลก่อนที่เว็บเซิร์ฟเวอร์เท่านั้น (หรือที่เราเรียกว่าการทำงานแบบ Server Side) แล้วนำผลลัพธ์ทั้งหมดส่งกลับมายังเว็บบราวเซอร์ในลักษณะของ
เอกสาร HTML ซึ่งเว็บบราวเซอร์สามารถตีความหมายและนำมาแสดงผลได้

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น